การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ3สัปดาห์ที่17ระหว่างวันที่22 ถึงวันที่ 26 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553

**งานที่ได้รับมอบหมาย**

-รวบรวมผลการปฏิบัติงานส่งพี่ที่ดูแล
-จัดเรียงเอกสาร
-ค้นหาเอกสาร
-ค้นหาผู้สมัครงาน
-การถ่ายเอกสาร

**ปัญหาและอุปสรรค**

-ไม่มี

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ3สัปดาห์ที่16ระหว่างวันที่15 ถึงวันที่ 19 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553

**งานที่ได้รับมอบหมาย**

-ทำAccessหน้าหลักโดยใช้วิสซาร์ด
-การถ่ายเอกสาร
-การส่ง - รับเอกสาร
-การจัดเรียงเอกสาร
-ค้นหาประวัติผู้สมัครงาน
-รวบรวมข้อมูลผลการปฏิบัติงาน

**ปัญหาและอุปสรรค**

-ไม่มี

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ3สัปดาห์ที่15ระหว่างวันที่8 ถึงวันที่ 12 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553

**งานที่ได้รับมอบหมาย**

-เช็คเว็บไซต์ที่ได้ทำการโพสต์งานไว้เพ่อรอดูการเปิดการใช้บริการ
-มีการติดต่อนัดเรียกสัมภาษณ์งาน
-ค้นหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต
-การส่ง - รับเอกสาร
-การถ่ายเอกสาร

**ปัญหาและอุปสรรค**

-ไม่มี

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ3สัปดาห์ที่14ระหว่างวันที่1 ถึงวันที่ 5 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553

**งานที่ได้รับมอบหมาย**

-จัดเรียงเอกสาร
-การถ่ายเอกสาร
-การส่ง - รับเอกสาร
-ทำโปสเตอร์เปิดใช้บริการห้องสมุด
-โพสต์งานลงอินเตอร์เน็ต
-ออกแบบป้ายกำกับบลอกห้องสมุด

**ปัญหาและอุปสรรค**

-ไม่มี

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ3สัปดาห์ที่13 ระหว่างวันที่ 25 ถึงวันที่ 29 เดือนมกราคม พ.ศ.2553

**งานที่ได้รับมอบหมาย**

-มีการเก็บข้อมูลหนังสือจำนวน 132 เล่ม
-มีการเดินเอกสาร
-มีการถ่ายเอกสาร
-นำข้อมูลหนังสือจัดเก็บลงในระบบงานห้องสมุด
-มีการโทรศัพท์นัดสัมภาษณ์งานในตำแหน่ง IT SUPPORT
-การพิมพ์กฏระเบียบข้อบังคับการใช้บริการห้องสมุด

**ปัญหาและอุปสรรค**

-ไม่มี

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ3สัปดาห์ที่12 ระหว่างวันที่ 18 ถึงวันที่ 22 เดือนมกราคม พ.ศ.2553

**งานที่ได้รับมอบหมาย**

-เช็คจำนวนหนังสือ และเก็บข้อมูลหนังสือว่าหนังสือมีข้อมูลใดบ้าง
-มีการคีย์ข้อมูลของหนังสือลงในระบบงานเพื่อจัดเก็บข้อมูล


อาทิตย์นี้มีการทำงานแค่นี้เนื่องจากหนังสือที่ทำการเก็บข้อมูล
มีจำนวน 245 เล่ม ในการจัดเก็บข้อมูลหนังสือมี
ชื่อหนังสือ รหัส ISSN/ISBN ผู้บริจาค บริษัทที่สังกัด

**ปัญหาและอุปสรรค**

-ไม่มี

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ3สัปดาห์ที่11 ระหว่างวันที่ 11 ถึงวันที่ 15 เดือนมกราคม พ.ศ.2553

**งานที่ได้รับมอบหมาย**

-ศึกษาความต้องการของระบบงานห้องสมุด
-จัดทำ ER-DIAGRAM ของระบบงานห้องสมุด
-สร้างเอนทิตี้ และแอททริบิว ของข้อมูลที่จะทำการบันทึก
-มีการสรางฟอร์มเพื่อนำไว้ใช้ในการบันทึกข้อมูล
-จัดทำรายงานการพิมพ์ของข้อมูล

**ปัญหาและอุปสรรค**

-ไม่มี

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ3สัปดาห์ที่10 ระหว่างวันที่ 4 ถึงวันที่ 8 เดือนมกราคม พ.ศ.2553

**งานที่ได้รับมอบหมายมีดังนี้**

-มีการส่งแฟกซ์
-มีการถ่ายเอกสาร
-มีการเดินส่งเอกสาร
-สืบค้นข้อมูลผู้สมัครงาน
-นัดสัมภาษณ์งานผู้สมัครงาน
-ทำข้อมูล ACCESS
-เช็คสต๊อกของที่ใช้หลังจากงานปีใหม่

**ปัญหาและอุปสรรค**

-มีการนำสัญญาณไวเรสมาติดตั้งแต่เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้
ไม่สามารถที่จะรองรับการทำงานหลายๆส่วนได้จึงทำให้คอมพิวเตอร์ค้าง

**การแก้ไขปัญหา**

-มีการนำสัญญาณไวเรสออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ3 สัปดาห์ที่9 ระหว่างวันที่ 28 ถึงวันที่ 29 เดือน ธันวาคม พ.ศ.2552

**งานที่ได้รับมอบหมายมีดังนี้**

-สัปดาห์นี้ที่บริษัทมีการจัดกิจกรรมปีใหม่ และเนื่องจากบริษัทมีกำหนดหยุด
ในวันที่ 30 ธันวาคม ดังนั้นที่แผนกฝ่ายบุคคลจึงให้ทำงานดังนี้

ในวันที่ 28 ธันวาคม 2552
-มีการให้จัดห่อของขวัญ
-ทำความสะอาดเบาะนั่ง
-ให้ทำการยกของ

ในวันที่29 ธันวาคม 2552
-มีการจัดสถานที่ที่จะจัดกิจกรรม
-มีการยกของ

**ปัญหาและอุปสรรค**

-การที่บริษัทเพิ่งมาจัดกิจกรรมเป็นการเตรียมพร้อมที่ไม่เต็มที่
ทำให้แต่พนักงานแต่ละคนอารมเสียง่ายเนื่องจากไม่มีการเตรียมพร้อม
ล่วงหน้าของผู้จัดกิจกรรม

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ3 สัปดาห์ที่8 ระหว่างวันที่ 21 ถึงวันที่ 25 เดือน ธันวาคม พ.ศ.2552

**งานที่ได้รับมอบหมายดังนี้**

-สืบค้นข้อมูลของผู้สมัครงานทางเวบไซต์
-ติดต่อขอนัดสัมภาษณ์งาน
-มีการออกนอกสถานที่ปฏิบัติกิจกรรมที่โรงแรมมิลลีเนี่ยม ฮิลตัน
-มีถ่ายเอกสาร
-มีการส่งและรับเอกสาร
-มีการทำ Data Access ของผู้สมัครงาน
-ทำTable ใหม่
-ทำ ER-Diagram

**ปัญหาและอุปสรรค**

-มีอาจารย์ที่ปรึกษาของผู้บริหารแนะนำให้มีการทำ Table ใหม่
และลองกำหนดตัวแปรใหม่อีกครั้ง

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ3 สัปดาห์ที่7 ระหว่างวันที่ 14 ถึงวันที่ 18 เดือน ธันวาคม พ.ศ.2552

**งานที่ได้รับมอบหมายมีดังนี้**

-มีการ Post งานลงบนเวบไซต์
-มีการคัดสรรบุคคลบนเวบไซต์
-มีการติดต่อขอนัดสัมภาษณ์งาน
-มีการถ่ายเอกสาร
-มีการส่งเอกสาร
-มีการทำ Data Access
- ทำ Table 19 Table
- ทำ Forms 6 Forms โดยใช้ Split Forms

**ปัญหาและอุปสรรค**

-ไม่มี

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ3 สัปดาห์ที่6 ระหว่างวันที่ 8 ถึงวันที่ 11 เดือน ธันวาคม พ.ศ.2552

**งานที่ได้รับมอบหมายมีดังนี้**

-มีการถ่ายเอกสาร
-มีการส่งเอกสารและรับเอกสาร
-มีการ Post งานลงบนเวบไซต์
-มีการค้นหาบุคคลที่สมัครงานเข้ามาสัมภาษณ์งาน
-มีการทำข้อมูล Data Access
- ทำ Table
- ทำ Forms
- ทำ Relation

**ปัญหาและอุปสรรค**

- ไม่มี

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ3 สัปดาห์ที่5 ระหว่างวันที่ 30 ถึงวันที่ 4 เดือน ธันวาคม พ.ศ.2552

**งานที่ได้รับมอบหมายมีดังนี้**

-มีการทำ Print Screen รูป 19 รูป ของ Table
-มีการทำ Forms เพื่อกำหนดและวางรูปแบบของ Forms
-มีการสอนการส่ง Fax และส่ง Fax ไปยังโรงเรียนต่างจังหวัด
-มีการส่งเอกสารและรับเอกสาร
-มีการลง Post งานลงบนเวบไซต์


**ปัญหาและอุปสรรค**

-ลองทดสอบ Forms แล้วยังไม่สามารถที่จะบันทึกข้อมูลได้
เวลบันทึกข้อมูล ข้อมูลบางข้อมูลมีการทับซ้อนกัน

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ3 สัปดาห์ที่4 ระหว่างวันที่ 23 ถึงวันที่ 27 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2552

**งานที่ได้รับมอบหมายมีดังนี้**

-มีการส่งเอกสาร
-มีการถ่ายเอกสาร
-มีการทำ Post Card วันปีใหม่
-มีการทำข้อมูลประวัติผู้สมะครงาน
-มีการออกแบบ Forms ของข้อมูล
-มีการลงโปรแกรม Photoshop
-มีการกำหนดตัวแปรและทำ Table ใหม่

**ปัญหาและอุปสรรค**

-เครื่องคอมพิวเตอร์ Ram น้อยเกินไปดังนั้นเวลาใช้โปรแกรม Photoshop จึงมีการทำงานล่าช้า
-ต้องกำหนด Relation Access ใหม่เพื่อให้ข้อมูลสามารถบันทึกได้

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ3 สัปดาห์ที่3 ระหว่างวันที่ 16 ถึงวันที่ 20 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2552

**งานที่ได้รับมอบหมายมีดังนี้**

-ทำ ER-Diagram ของผู้สมัครงาน
-ทำข้อมูลลง MicroSoft World
-ทำการ Print Screen รูปภาพของ Table
-ทำเอนทิตี้ และ แอททริบิว ของข้อมูล
-มีการส่งเอกสาร

**ปัญหาและอุปสรรค**

-ไม่มี

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ3 สัปดาห์ที่2 ระหว่างวันที่ 9 ถึงวันที่ 13 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2552

**งานที่ได้รับมอบหมายมีดังนี้**

-มีการถ่ายเอกสาร
-มีการนำเอกสารที่ถ่ายมาทำรูปเล่ม
-มีการลง Post งานให้แก่บริษัทในเวบไซต์
-มีการทำ DATA ACCESS เพื่อเก็บข้อมูลของประวัติผู้สมัครงาน
-มีการกำหนด Table ของข้อมูล
-มีการกำหนดตัวแปร

**ปัญหาและอุปสรรค**

-DATA ACCESS ที่ทำยังไม่สามารถรองรับการบันทึกของข้อมูลได้

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ3 สัปดาห์ที่1 ระหว่างวันที่ 2 ถึงวันที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2552

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ 3 ณ บริษัทโกลเม็กซ์ มิเดีย(ประเทศไทย) จำกัด

**งานที่ได้รับมอบหมายมีดังนี้**

-มีการสอนเรื่องการถ่ายเอกสาร
-มีการจัดทำรายละเอียดเกี่ยวกับเอกสารของแผนกฝ่ายบุคคล
-มีการเรียงข้อมูลประวัติผู้สมัครงานของแต่ละเดือน
-มีการเดินส่งเอกสารตามแผนกต่างๆ
-มีการจัดทำเอกสารเป็นรูปเล่ม
-มีการจัดทำเอกสารให้เข้าหมวดหมู่
-มีการถ่ายเอกสาร

**ปัญหาและอุปสรรค**

-เอกสารของบริษัทบางช่วงไม่มีการจัดทำให้เป็นระเบียบ

DTS03-01/07/2009

..::: สรุป Data Structure เรื่อง Pointer และ Set and String :::..

::.Pointer หมายถึง ตัวเก็บตำแหน่งที่อยู่ของหน่วยความจำ (Address) หรือเรียกว่า ตัวชี้ ตำแหน่งที่อยู่ สัญลักษณ์ของ pointer จะแทนด้วยเครื่องหมาย *ถ้าเก็บข้อมูลเลขจำนวนเต็ม (ชนิด int จะใช้พื้นที่หน่วยความจำเครื่อง 2 byte ) ฉะนั้นตำแหน่ง address จะห่างกันไปทีละ 2 ช่อง ตัวอย่างเช่น fff0 àfff2 ถ้าเป็นข้อมูลชนิด char จะใช้พื้นที่ memory 1 byte ก็จะห่างกัน 1 ช่อง เช่น fffo àfff1pointer จะใช้พื้นที่มากกว่า array เพราะต้องเพิ่มพื้นที่ส่วนหนึ่งสำหรับเก็บตำแหน่งที่อยู่ของข้อมูลตัวถัดไป

::.เครื่องหมายที่ใช้ทำงานกับตัวแปรพอยน์เตอร์
1. & หมายถึง เป็นเครื่องหมายที่ใช้เมื่อต้องการให้เอาค่าตำแหน่งที่อยู่ของตัวแปรที่เก็บไว้ในหน่วยความจำออกมาใช้ ตัวอย่าง

char *prt;

หมายความว่า ประกาศค่าตัวแปร prt เป็นตัวแปรพอยน์เตอร์ ที่เก็บใช้ตำแหน่งเริ่มต้นที่จะเก็บ character

int *a;


หมายความว่า ประกาศค่าตัวแปร a เป็นตัวแปรพอยน์เตอร์ที่ใช้เก็บตำแหน่งเริ่มตนที่จะใช้เก็บ integer

2. เครื่องหมาย * มีการใช้สองลักษณะ คือ ใช้ในการประกาศ parameter ว่าเป็นตัวแปรแบบพอยน์เตอร์ เช่น

void swap(int *p,int *q)
{

::.โครงสร้างข้อมูลแบบเซต (set) เป็นโครงสร้างที่ข้อมูลแต่ละตัวไม่มีความสัมพันธ์กันเลย

::.โครงสร้างข้อมูลแบบสตริงค์ (String) เป็นลักษณะของข้อมูลที่มาจากกลุ่มของตัวอักษร หรือเป็น Array of Character นำมาใช้ในการเก็บข้อมูลประเภท ชื่อ,นามสกุล, ที่อยู่ หรือเบอร์โทรศัพท์ ในภาษาซีไม่มีโครงสร้างของตัวแปรชนิดนี้มาให้เป็นมาตรฐาน ซึ่งเราจะต้องประยุกต์สร้างโครงสร้างของตัวแปรเอง

::.การส่งผ่านค่าสตริงค์ฟังก์ชัน การส่งผ่านค่าสตริงในฝั่งของฟังก์ชันที่ถูกเรียกใช้งาน พารามิเตอร์ของฟังก์ชัน จะไม่ระบุขนาดของอาร์เรย์ เนื่องจากไม่สามารถทราบได้แน่นอนว่ามีขนาดเท่าใด

::.ฟังก์ชันที่ใช้งานกับข้อมูลแบบสตริงค์ ฟังก์ชันที่ทำงานกับข้อมูลแบบสตริงมีอยู่มากมายเช่น การคัดลอก การเปรียบเทียบ การทำให้เป็นตัวอักษรเล็ก หรือใหญ่ ต่างๆ ซึ่งอยู่ใน “string.h” ก่อนนำฟังก์ชันมาใช้งาน ต้องมีการกำหนดไว้ใน include directive ก่อนเสมอคือ


#include
void main() {
Statement

Statement
}

DTS02-24/06/2009

..::: สรุป Data Structure เรื่อง Array and Record :::..

::.โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับเป็นข้อมูลที่ใช้งานกันมาก และนำไปประยุกต์ใช้ สร้างโครงสร้างข้อมูลแบบใหม่ เช่น สแกก คิว เป็นต้น การกำหนดขนาดแถวลำดับจะใช้จำนวน ดัชนีเป็นตัวบอกจำนวนมิติแถวลำดับนั้น จำนวนมิติแถวลำดับที่นิยมมาประยุกต์ใช้งานกันมาก คือ แถวลำดับ 1 มิติ แถวลำดับ 2 มิติ และแถวลำดับ 3 มิติ การอ้าถึงสมาชิกใดๆ ของแถวลำดับ จะใช้ค่าดัชนีระบุตำแหน่งสมาชิกที่ต้องการอ้างถึง โดยกำหนดในเครื่องหมายวงเล็บหรือเครื่องหมายก้ามปู

::.โครงสร้างข้อมูลแบบระเบียนในภาษาซีสามารถนิยามระเบียนได้ด้วยคำสั่ง struct และคำสั่งtypedef นอกจากนี้ภาษาซียอมให้ประกาศสมาชิกของแถวลำดับเป็นชนิดระเบียน การอ้างอิงตัวแปร ของแถวลำดับที่มีสมาชิกเป็นระเบียน ใช้รูปแบบ ชื่อแถวลำดับ[ตำแหน่งสมาชิกในแถวลำดับ].ชื่อเขตข้อมูล

::.โครงสร้างข้อมูลแบบระเบียนนำไปประยุกต์ใช้งานร่วมกับโครงสร้างข้อมูลประเภทอื่นๆได้หลายอย่าง เช่น รายการโยง ต้นไม้ และกราฟ เป็นต้น



..::: Code Structure :::..

#include

#include

int main(void){

struct Myphone{

char Brand[7];

char System[10];

char Color[7];

char Type[19];

char Sound[12];

float Camera;

int memory;

int Price;

}phone;

strcpy(phone.Brand,"NOKIA");

strcpy(phone.System,"GSM 1800");

strcpy(phone.Color,"Black");

strcpy(phone.Type,"5530 Xpress Music");

strcpy(phone.Sound,"Mp3stereo");

phone.Camera=3.2;

phone.memory=16;

phone.Price=9500;

printf("Brand:%s\n\n",phone.Brand);

printf("System:%s\n\n",phone.System);

printf("Color:%s\n\n",phone.Color);

printf("Type:%s\n\n",phone.Type);

printf("Sound:%s\n\n",phone.Sound);

printf("Camera:%f\n\n",phone.Camera);

printf("memory:%d\n\n",phone.memory);

printf("Price:%d\n\n",phone.Price);

}

*-->>...5 ปีของการพัฒนา “กูเกิ้ล จีเมล์” อี เมล์ไม่ธรรมดาเพื่อคนไทย...<<--*

..:::ย้อนเวลากลับไปเมื่อปี 2548 หรือ กว่า 5 ปีที่แล้ว คนไทยต่างตื่นเต้นกับการมีบัญชีผู้ใช้อีเมล์ (e-mail Account) เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสารผ่านจดหมายอิเล็คทรอนิกส์ ที่ขณะนั้นหากได้ติดตาม IT Digest มาต่อเนื่อง จะรู้ว่าประเทศไทยมีฟรีอีเมล์ให้ใช้งานในประเทศมากมาย หลายผู้ให้บริการ อาทิ เมล์ดูซี่ ไทยเมล์ เอ็มเว็บ ไชโยเมล์ และอีเมล์ของผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตในขณะนั้น รวมถึงเว็บเมล์จากต่างประเทศที่รู้จักดี อาทิ ฮอตเมล์ (Hotmail) ยาฮูเมล์ (Yahoo mail)แต่อีเมล์ในขณะนั้นพื้นที่จัดเก็บข้อมูลมีน้อยมาก เพียง 2 เมกะไบท์ (MB) หรือ 5 MB หรือเทียบกับอีเมล์สำหรับใช้ส่งฟอร์เวิร์ดเมล์ ที่คนทั่วไปส่งกันในขณะนี้เพียงฉบับเดียว แต่ใครจะคาดคิดว่าหลังจากนั้นมา การติดต่อสื่อสารกับผ่านทางอีเมล์ และปริมาณข้อมูลดิจิตอลที่มาจากไฟล์ภาพ และวิดีโอ จะเติบโตเพิ่มจำนวนได้มากขนาดนั้น ทำให้หลายๆ คนตัดสินใจนำอีเมล์ของตัวเองแก้ไขที่อยู่ เพื่อรับสิทธิ์การขยายพื้นที่กล่องรับอีเมล์แทน

..:::การเปลี่ยนแปลงในวงการอีเมล์เกิดขึ้น เมื่อเสิร์ชเอนจิ้นที่กำลังมาแรงในขณะนั้น คือ กูเกิ้ล ประกาศเปิดให้บริการฟรีอีเมล์ จีเมล์ (Gmail) ถึง 1GB ทว่าผู้ที่ใช้ได้นั้นจะต้องได้รับคำเชิญชวนจากสมาชิกที่เคยใช้ก่อน ทำให้ยุคนั้นเป็นการไล่ล่าหาผู้ที่ใช้จีเมล์ เพื่อขอรับคำเชิญในการใช้จีเมล์ ที่ต่อมาตัวจีเมล์ถูกพัฒนาให้สอดคล้องเชื่อมโยงกับบริการต่างๆ ของกูเกิ้ล อาทิ แผนที่ การจัดการรูปภาพ บล็อก การแปลภาษา หรือการสื่อสารผ่านโปรแกรมสนทนา และวิดีโอแชท และต่อมาจีเมล์ก็เพิ่มพื้นที่ความจุเป็น 5GB และ 7GB ตามลำดับ

..:::ล่าสุดในวาระที่จีเมล์มีอายุครบ 5 ปี กูเกิ้ลได้ประกาศเปิดตัว จีเมล์ แลปส์ (Gmail Labs) ที่พร้อมใช้ทั่วโลกใน 49 ภาษา รวมถึงภาษาไทย หลังจากที่เปิดตัวไปก่อนในเวอร์ชันภาษาอังกฤษเมื่อเดือน มิ.ย.2551 ที่นำเสนอ 43 ฟีเจอร์ตลอด 43 สัปดาห์ โดยเป็นตัวทำให้ผู้ใช้ปรับปรุงการใช้งานจีเมล์ให้เหมาะสมตัวผู้ใช้งาน ด้วยตุผลของเหล่านักวิจัยของกูเกิ้ลที่ว่า “เราไม่เคยลืมว่าเราเริ่มต้นอย่างไร และยังคงชื่นชอบการทดลองเหมือนเช่นเคย แต่จะมีประโยชน์อะไรสำหรับการสร้างฟีเจอร์ที่แปลกใหม่ หากเราไม่ได้แบ่งปันฟีเจอร์นั้นร่วมกับผู้ใช้”