DTS02-24/06/2009

..::: สรุป Data Structure เรื่อง Array and Record :::..

::.โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับเป็นข้อมูลที่ใช้งานกันมาก และนำไปประยุกต์ใช้ สร้างโครงสร้างข้อมูลแบบใหม่ เช่น สแกก คิว เป็นต้น การกำหนดขนาดแถวลำดับจะใช้จำนวน ดัชนีเป็นตัวบอกจำนวนมิติแถวลำดับนั้น จำนวนมิติแถวลำดับที่นิยมมาประยุกต์ใช้งานกันมาก คือ แถวลำดับ 1 มิติ แถวลำดับ 2 มิติ และแถวลำดับ 3 มิติ การอ้าถึงสมาชิกใดๆ ของแถวลำดับ จะใช้ค่าดัชนีระบุตำแหน่งสมาชิกที่ต้องการอ้างถึง โดยกำหนดในเครื่องหมายวงเล็บหรือเครื่องหมายก้ามปู

::.โครงสร้างข้อมูลแบบระเบียนในภาษาซีสามารถนิยามระเบียนได้ด้วยคำสั่ง struct และคำสั่งtypedef นอกจากนี้ภาษาซียอมให้ประกาศสมาชิกของแถวลำดับเป็นชนิดระเบียน การอ้างอิงตัวแปร ของแถวลำดับที่มีสมาชิกเป็นระเบียน ใช้รูปแบบ ชื่อแถวลำดับ[ตำแหน่งสมาชิกในแถวลำดับ].ชื่อเขตข้อมูล

::.โครงสร้างข้อมูลแบบระเบียนนำไปประยุกต์ใช้งานร่วมกับโครงสร้างข้อมูลประเภทอื่นๆได้หลายอย่าง เช่น รายการโยง ต้นไม้ และกราฟ เป็นต้น



..::: Code Structure :::..

#include

#include

int main(void){

struct Myphone{

char Brand[7];

char System[10];

char Color[7];

char Type[19];

char Sound[12];

float Camera;

int memory;

int Price;

}phone;

strcpy(phone.Brand,"NOKIA");

strcpy(phone.System,"GSM 1800");

strcpy(phone.Color,"Black");

strcpy(phone.Type,"5530 Xpress Music");

strcpy(phone.Sound,"Mp3stereo");

phone.Camera=3.2;

phone.memory=16;

phone.Price=9500;

printf("Brand:%s\n\n",phone.Brand);

printf("System:%s\n\n",phone.System);

printf("Color:%s\n\n",phone.Color);

printf("Type:%s\n\n",phone.Type);

printf("Sound:%s\n\n",phone.Sound);

printf("Camera:%f\n\n",phone.Camera);

printf("memory:%d\n\n",phone.memory);

printf("Price:%d\n\n",phone.Price);

}